รศ.ดร. บรรเจิด สิงคะเนติ

11 เมษายน 2550 11:27 น.

       ผลงานของนักวิชาการในสาขากฎหมายมหาชน/รศ.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ
        
       คุณวุฒิ
              - Doctor der Rechte (Dr.jur.), Ruhr - Universitaet Bochum, Germany.
              
       ตำแหน่ง
              - อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
        
       บทความทางวิชาการ (บางส่วน)
       วิเคราะห์ปัญหาการแต่งตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญของไทยโดยอาศัยพื้นฐานทางทฤษฎีของเยอรมัน. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2541) หน้า 479 - 492.
       
       วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทยเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน.ในวารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2541) หน้า 76 - 99.
       
       วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทยเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน.ศาลรัฐธรรมนูญไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคต. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2543, หน้า 33 - 65.
       
       วิเคราะห์ปัญหาเรื่องขอบเขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ.ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 1 (เมษายน 2541) หน้า 157 - 166.
       
       หลักประกันสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่. ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 2 (สิงหาคม 2542) หน้า 30 - 65.
       
       หลักความได้สัดส่วนตามหลักกฎหมายของเยอรมันและฝรั่งเศส.ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2542) หน้า 40 - 70.
       
       เงื่อนไขการพิจารณาคดีปกครองเยอรมัน.ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2542) หน้า 277 - 299.
       
       ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540.ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอน 1 (เมษายน 2543) หน้า 1 - 10.
       
       ข้อพิจารณาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องของหน่วยงานของรัฐในการฟ้องโต้แย้งคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร.ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอน 1 (เมษายน 2543) หน้า 11 - 19.
       
       กระบวนการรับฟ้องความคิดเห็นสาธารณะหรือกระบวนการกำหนดแผนงาน (das Plafeststellungsverfahren) ตามกฎหมายเยอรมัน. ในรพี 43, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, หน้า 86 - 96.
       
       หลักการพื้นฐานของสิทธิและเสรีภาพ.ในนิติสยามปริทัศน์’ 43 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, หน้า 60 - 82.
       
       ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศาลปกครองกับองค์กรตามรัฐธรรมนูญ. ใน www.pub-law.net, 16 เมษายน 2544.
       
       บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ : ศึกษากรณีปัญหาความขัดแย้งเรื่อง เขตอำนาจศาลระหว่างศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครอง. ใน www.pub-law.net, 28 พฤษภาคม 2544 และ 11 มิถุนายน 2544.
       
       คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ของเยอรมัน: ศึกษากรณีการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 7 (มกราคม - เมษายน 2544).
       
       ปัญหาเรื่องการพิจารณาอุทธรณ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.ใน www.pub-law.net, 1 มีนาคม 2545.
       
       บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีปัญหาความขัดแย้งเรื่องเขตอำนาจศาลระหว่างศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครอง. ในรวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.
       
       การควบคุมและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ.ในรวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.
       
       ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศาลปกครองกับองค์กรตามรัฐธรรมนูญ.ใน www.pub-law.net, 16 เมษายน 2544.
       
       วิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลปกครองกรณียกฟ้อง 3 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (253/2545). ใน www.pub-law.net, 6 พฤษภาคม 2545.
       
       เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา 264 และมาตรา 266(แต่งร่วมกับ รศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์).ในรวมบทความทางวิชาการของ ศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย.
       
       สิทธิขั้นพื้นฐานทางสังคม.ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 9 (กันยายน - ธันวาคม 2544).
       
       ปัญหาขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ.ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม/2544).
       
       หลักการแสวงหาความจริงโดยศาล (Untersuchungsgrundsatz) ของรัฐธรรมนูญเยอรมัน.ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2545).
       
       การฟ้องโต้แย้งคำสั่งทางปกครองตามกฎหมายเยอรมัน.ในอาจาริยบูชา รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์, สมาคมกฎหมายมหาชนแห่งประเทศไทย, 2545.
       
       วิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลปกครอง เรื่อง ขอให้เพิกถอนมติที่ประชุมคณะกรรมการองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย เกี่ยวกับการตัดสายเชื่อมโยงข่ายโทรคมนาคม (คำสั่งที่ 645/2545).ใน www.pub-law.net, เผยแพร่วันที่ 15 กรกฎาคม 2545.
       
       ข้อสังเกตจากคำชี้แจงของศาลปกครองสูงสุดและแนวคำ วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ: กรณีที่มีปัญหาอำนาจหน้าที่ระหว่างคณะกรรมการการเลือกตั้งกับศาลปกครอง.ใน www.pub-law.net, เผยแพร่วันที่ 21 ตุลาคม 2545.
       
       กระบวนการพิจารณาโครงการ (Planfestellungsnerfahren) ตามกฎหมายของเยอรมัน. ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 20 ตอน 1, 2544.
       
       ข้อพิจารณาเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.ใน www.pub-law.net, เผยแพร่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2546 และ 17 กุมภาพันธ์ 2546.
       
       ทำไมพระราชกำหนดในการแปรสัญญาโทรคมนาคมจึงไม่เป็นไปตามมาตรา 218 วรรคหนึ่งของรัฐธรรมนูญ.ใน www.pub-law.net, 31 มีนาคม 2546.
       
       หลักการแสวงหาความจริงโดยศาลในคดีปกครองของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี.ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2545).
       
       สังคมประชาธิปไตยในวัย 71.ใน www.pub-law.net, 29 ธันวาคม 2544.
       
       ความเสมอภาคในการสมัครสอบเพื่อเข้ารับราชการ.ใน www.pub-law.net, 9 กุมภาพันธ์ 2547.
       
       สรุปการเสวนาทางวิชาการ "เสรีภาพในการชุมนุมตามรัฐธรรมนูญกับการสลายการชุมนุม. ใน www.pub-law.net, 22 มีนาคม 2547.
       
       คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญและคำพิพากษาศาลปกครอง : กรณีสิทธิในการสมัครสอบ.ใน www.pub-law.net, 14 ตุลาคม 2548.
       
       บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อ 2 เมษายน 2549 (คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 9/2549).ใน www.pub-law.net, 20 สิงหาคม 2549.
       
       คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 52/2546 (เรื่องคณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 266 เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 145 วรรค 1 (3)).ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2547) หน้า 132 - 155.
       
       บทวิเคราะห์คำสั่งศาลปกครองสูงสุดกรณีการฟ้องโต้แย้งหนังสือของกระทรวงการคลัง (คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ 118/2544).ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 33 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2546) หน้า 831 - 845.
       
       อำนาจฟ้องคดีปกครองของหน่วยงานของรัฐตามกฎหมายเยอรมัน.ในวารสารกฎหมายปกครอง ปีที่ 19 ตอนที่ 1 (เมษายน 2543) หน้า 235 - 236 และ รวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 125 -
       
       ปัญหาขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ.ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2544) หน้า 1 - 49.
       
       ข้อสังเกตจากคำวินิจฉัยของศาล ในคดีพิพาทเกี่ยวกับคำวินิจฉัยของคณะกรรมการการเลือกตั้ง.ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2544) หน้า 154 - 169.       
       
       คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน: ศึกษากรณีการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย.ในรวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 2: ศาลรัฐธรรมนูญไทยในสถานการณ์ปฏิรูปการเมือง. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546, หน้า 23 - 50.
       
       คำสั่งทางปกครองของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามกฎหมายเยอรมัน.ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 1 กฎหมายปกครอง ภาคสารบัญญัติ. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 76 - 78.
       
       การควบคุมตรวจสอบองค์กรฝ่ายปกครองตามกฎหมายเยอรมัน.ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 1 กฎหมายปกครอง ภาคสารบัญญัติ. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 425 - 436.
       
       ระยะเวลาในการฟ้องคดีปกครองตามกฎหมายเยอรมัน. ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 181 - 192 .
       
       หลักการแสวงหาความจริงโดยศาลในคดีปกครองของเยอรมัน.ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 247 - 258.
       
       การอุทธรณ์ในคดีปกครองของเยอรมัน. ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 293 - 303.       
       
       การบังคับคดีปกครองตามกฎหมายเยอรมัน.ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 304 - 310.
       
       สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฤาเป็นเพียงสภาแห่งอาชีพ. ในจุลนิติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (มีนาคม - เมษายน 2551) หน้า 209 - 211.
       
       การตรวจความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่กระทบต่อสิทธิมนุษยชน. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2553) หน้า 33 - 56.
       
       การใช้สิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2552) หน้า 225 - 252.
       
       
       หนังสือ (บางส่วน)
       หมายเหตุ: การเปิดดูสารบัญนั้น ท่านจะต้องมีโปรแกรม Adobe Acrobat อยู่ในเครื่องของท่านด้วย หากยังไม่มี สามารถ Download ได้จากส่วนท้ายของหน้านี้
       
       
       หลักพื้นฐานสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่.กรุงเทพ ฯ: วิญญูชน 2543.
       
       การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของทางราชการกับข้อพิจารณาทางกฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ: นิติธรรม 2543.
       
       หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์. โครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา, 2543.
       
       หลักความเสมอภาค. โครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา, 2543.
       
       ศาลรัฐธรรมนูญ. โครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา, 2543.
       
       หลักพื้นฐานสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2543.
       
       ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญกรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2544.
       
       หลักความเสมอภาค. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
       
       หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
       
       เอกสารประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา เล่มที่ 5 เรื่องพระราชบัญญัติประชาพิจารณ์: กรณีศึกษากระบวนการพิจารณาโครงการ (Planfestellungsnerfahren) ตามกฎหมายของประเทศเยอรมันนี.กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2545.
       
       เอกสารประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา เล่มที่ 6 เรื่องพระราชบัญญัติประชาพิจารณ์: ศึกษากรณีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (Enquête publique) ตามกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส (แต่งร่วมกับสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์). กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2545.       
       
       ข้อพิจารณาเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.
       
       ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคดีปกครองเยอรมัน.กรุงเทพฯ: โครงการตำราและวารสารนิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547.
       
       หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.
       
       ปฏิรูปการเมืองครั้งที่ 2 พรรคทางเลือกที่สามเพื่อการปฏิรูปการเมืองครั้งใหม่ตามแนวความคิดของ ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.
       
       รวมบทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญและคำสั่งของศาลปกครองกรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.
       
       หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครองกรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2548 (พิมพ์ครั้งที่ 2).       
       
       รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ เรื่องสิทธิและเสรีภาพ.กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.
       
       รายงานการวิจัย เรื่องสิทธิและโอกาสทางการศึกษาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนากฎหมายการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2545.
       
       รายงานการวิจัย เรื่องการคุ้มครองชั่วคราวและการบังคับให้เป็นไปตามผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548.
       
       รายงานการวิจัย เรื่องกระบวนการพิจารณาโครงการ(PLANFESTSTELLUNGSVERFAHREN) ตามกฎหมายของเยอรมัน.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2544.
       
       บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อ 2 เมษายน 2549 (คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 9/2549). รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6, กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 131 - 153.
       
       รายงานการวิจัยเรื่องการใช้สิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว. กรุงเทพฯ: มิสเตอร์ก๊อบปี้, 2551.
       
       


พิมพ์จาก http://public-law.net/view.aspx?ID=1083
เวลา 20 ธันวาคม 2567 02:25 น.
Pub Law Net (http://www.pub-law.net)