|
|
ศ.ดร. วรเจตน์ ภาคีรัตน์ 11 เมษายน 2550 11:26 น.
|
ผลงานของนักวิชาการในสาขากฎหมายมหาชน/รศ.ดร.วรเจตน์ ภาคีรัตน์
คุณวุฒิ
- Doktor der Rechte (summe cum laude) มหาวิทยาลัย Goettingen สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ตำแหน่ง
- อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- หัวหน้าหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- รองผู้อำนวยการโครงการอบรมประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทความทางวิชาการ (บางส่วน)
ข้อพิจารณาเปรียบเทียบองค์กรวินิจฉัยคดีปกครองของ สาธารณรัฐฝรั่งเศสและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2538) หน้า 708 - 723.
ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญกับศาลรัฐธรรมนูญ. ในรวมบทความทางวิชาการ เนื่องในโอกาสครบรอบ 90 ปี ธรรมศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์, พ.ศ. 2541 หน้า 191 - 201.
ระบบและวิธีศึกษากฎหมายในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน. ในหนังสือที่ระลึก 100 ปี โรงเรียนกฎหมาย, พ.ศ. 2541 หน้า 207 - 218.
ข้อความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองในระบบกฎหมายเยอรมัน. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2542) หน้า 262 - 276.
การสิ้นสุดความเป็นรัฐมนตรีตามมาตรา 216(4) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2542) หน้า 316 - 325.
ระบบแห่งบรรทัดฐานทางกฎหมาย. ในรพี 42, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, หน้า 35 - 44.
การ เลือกตั้งในรัฐเสรีประชาธิปไตย. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่มที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2542) หน้า 95 - 105.
คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการกรณี ITV กับผลผูกพันที่มีต่อคู่สัญญา. ใน www.pub-law.net, 17 พฤษภาคม 2542.
วิเคราะห์ข้อกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่มที่ 4 (มกราคม - เมษายน 2543) หน้า 32 - 39.
วิเคราะห์ข้อกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 4 (มกราคม - เมษายน, 2543)
เงื่อนไขการตรากฎหมายจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชน: มาตรการในการควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2543) หน้า 185 - 194.
การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร: ปัญหาและแนวทางแก้ไขในส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง. ในเอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง การเลือกตั้งใหม่: ปัญหาและแนวทางแก้ไข จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2543 โรงแรมโซลทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพฯ, หน้า 11.
ผลบังคับผูกพันของคำสั่งทางปกครอง. ในอาจาริยบูชา รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์, สมาคมกฎหมายมหาชนแห่งประเทศไทย, 2545.
หลักเกณฑ์สำคัญเกี่ยวกับวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 4 เล่ม 12 (กันยายน - ธันวาคม 2545).
ความรับผิดทางละเมิดของฝ่ายปกครองตาม Common Law ในระบบกฎหมายอังกฤษ. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 เล่ม 3 (กันยายน 2545).
ปัญหาการลงมติในประเด็นของคดีในคดีรัฐธรรมนูญ. ใน www.pub-law.net, 17 มีนาคม 2546.
ผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 47/2547 กับตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน. ใน www.pub-law.net, 13 พฤศจิกายน 2548.
คำตอบสำหรับบทโต้แย้งทางวิชาการกรณีตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินกับการใช้และการตีความรัฐธรรมนูญ (ตอนที่ 1). ใน www.pub-law.net, 11 ธันวาคม 2548.
คำตอบสำหรับบทโต้แย้งทางวิชาการกรณีตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินกับการใช้และการตีความรัฐธรรมนูญ (ตอนที่ 2). ในwww.pub-law.net, 25 ธันวาคม 2548.
การเพิกถอนกฎในระบบกฎหมายปกครองเยอรมัน. ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548) หน้า 1 - 17.
การฟ้องคดีขอให้ตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของกฎในระบบกฎหมายเยอรมัน. ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548) หน้า 1 - 17.
การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งย้อนหลัง หลักนิติรัฐและศักดิ์ศรีนักกฎหมายไทย. ในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับวันที่ 25 ตุลาคม 2549.
แนวคิดและหลักเกณฑ์การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งและสัญญาทางปกครอง. ในวารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน - กันยายน 2550) หน้า 149 - 168.
กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ กับความมั่นคงของรัฐ. ในฟ้าเดียวกัน ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน 2552) หน้า 110 - 118
นิติรัฐกับความยุติธรรมทางสังคม. ในฟ้าเดียวกัน ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2552) หน้า 66 - 90.
การร้องทุกข์ทางรัฐธรรมนูญในระบบกฎหมายเยอรมัน: วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยประชาชนต่อศาลรัฐธรรมนูญในระบบกฎหมายไทย. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2553) หน้า 469 - 509.
หนังสือ (บางส่วน)
รายงานการวิจัย เรื่องวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ศึกษากรณีศาลรัฐธรรมนูญต่างประเทศกับศาลรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.
วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญศึกษาเปรียบเทียบกรณีของศาลรัฐธรรมนูญต่างประเทศกับศาลรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2546.
ความรับผิดทางละเมิดของฝ่ายปกครองตาม Common Law ในระบบกฎหมายอังกฤษ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2546.
หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครองและการกระทำทางปกครอง. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2546.
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองในระบบกฎหมายเยอรมัน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2549.
รายงานการวิจัย เรื่องการเปลี่ยนแปลงแนวคำวินิจฉัย และผลผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกาและศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมัน. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550. 7. กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2550. 8. การเปลี่ยนแปลงแนวคำวินิจฉัยและผลผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550. 9. รายงานการวิจัย เรื่ององค์กรอิสระตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการวิจัยและสัมมนา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
|
|
|
พิมพ์จาก http://public-law.net/view.aspx?ID=1082
เวลา 6 ตุลาคม 2567 20:14 น.
Pub Law Net (http://www.pub-law.net)
|
|